ผู้ทำการวิจัย สุมาลี หมวดไธสง
มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ
บทที่ 1 บทนํา
ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา
การวิจัยครั้งนี้เป็นการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด้กปฐมวัยโดยได้รับการจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน และเป็นแนวทางในการใช้วิธีการสอนแบบการจัดกิจกรรมให้ผู้ดูแลและผู้เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัยนำไปพัฒนาทักษะด้านอื่นๆให้แก่เด็กต้องเป็นการส่งเสริมพัฒนาการและศักยภาพของเด็กปฐมวัยต่อไป
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
- เพื่อศึกษาระดับความสามารถการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
- เพื่อเปรียบเทียบความสามารถการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
ขอบเขตของการศึกษา
- กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นเด็กปฐมวัยอายุ 5-6 ปี ชั้นอนุบาลปีที่ 3 เรียนในภาคเรียนที่ 2/2553 โรงเรียนสารสาสน์วิเทศ จํานวน 180 ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม โดยสุ่มมา 1 ห้องเรียน จำนวน 30
- ตัวแปรที่ศึกษา
- ตัวแปรอิสระ
- กิจกรรมกระบวนการการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
- ตัวแปรตาม
- ความสามารถในการคิดวิเคราะห์
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาในครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้ศึกษา และค้นคว้าจากหนังสือ เอกสารและตําราต่างๆ พร้อมทั้งงานวิจัยที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้คือ
- การจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
- การจัดกิจกรรมนอกห้องเรียนหรือนอกสถานที่
- การคิดวิเคราะห์
บทที่ 3
วิธีดําเนินการศึกษา
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเรื่องการสร้างหนังสือภาพเพื่อเตรียมทางคณิตศาสตร์ สําหรับเด็กปฐมวัย โดยกําหนดขั้นตอนในการดําเนินการดังนี้
1. กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นเด็กปฐมวัยอายุ 5-6 ปี ชั้นอนุบาลปีที่ 3 เรียนในภาคเรียนที่ 2/2553 โรงเรียนสารสาสน์วิเทศ จํานวน 180 ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม โดยสุ่มมา 1 ห้องเรียน จำนวน 30
2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
- แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในกิจกรรมวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
- แบบทดสอบในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย
- การจัดหมวดหมู่
- การหาความสัมพันธ์
- สร้างความคุ้นเคยกับกลุ่มตัวอย่างเป็นเวลา 8 สัปดาห์
- นำแบบทดสอบการคิดวิเคราะห์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมาทดสอบก่อนทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง
- ดำเนินการทดลองกับกลุ่มตัวอย่างโดยใช้กิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนเป็นเวลา 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 40 นาที
- เมื่อดำเนินการทดลองครบ 8 สัปดาห์ ผู้วิจัยทำการทดสอบกับกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้แบบทดสอบการคิดวิเคราะห์ฉบับเดียวกับแบบทดสอบที่ใช้ก่อนการทดสอบอีกครั้ง
- นำข้อมูลที่ใช้ได้จากการทดสอบการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยไปวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางสถิติเพื่อทดสอบสมมติฐานและสรุปผลการทดลอง
- หาค่าสถิติพื้นฐานของคะแนนจากแบบทดสอบความสามารถในการคิดวิเคราะห์การแก้ปัญหา ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
- เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังการทดลองT-Test แบบ Dependent Samples
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
- ผลการศึกษาระดับความสามารถการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนของระดับความสามารถในการคิดวิเคราะห์สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
- ผลการเปรียบเทียบความสามารถการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนมีค่าเฉลี่ยสูงขึ้นกว่าก่อนได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.01
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับความสามารถการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนและเพื่อเปรียบเทียบความสามารถการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ เด็กปฐมวัยอายุ 5-6 ปี ชั้นอนุบาลปีที่ 3 เรียนในภาคเรียนที่ 2/2553 โรงเรียนสารสาสน์วิเทศ จํานวน 180 ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม โดยสุ่มมา 1 ห้องเรียน จำนวน 30
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในกิจกรรมวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน และแบบทดสอบในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย (การจัดหมวดหมู่ , การหาความสัมพันธ์ )
สรุปผลการศึกษา
- ผลการศึกษาระดับความสามารถการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนของระดับความสามารถในการคิดวิเคราะห์สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
- ผลการเปรียบเทียบความสามารถการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนมีค่าเฉลี่ยสูงขึ้นกว่าก่อนได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.01
การนำไปประยุกต์ใช้
*การจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
กระบวนการทางวิทยาศาตร์สำหรับเด็กปฐมวัยนั้นประเด็นที่สำคัญต่อการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาตร์ให้เด็ก คือ การเปิดโอกาสให้เด็กใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 โดยการสัมผัส จับต้อง ดม ชม ได้ยินโดยในการสังเกต การสำรวจ การค้นคว้า การทดลอง หรือจะนำกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ด้วยก็ได้(การกำหนดปัญหา การตั้งสมมุติฐาน การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ และการสรุปผลประเมินผล) หรือจะการถามคำถามเกี่ยวกับประสบการณ์ที่เด็กได้รับด้วย เพราะจะทำให้เด็กมีพัฒนาการคิด รู้จักหาคำตอบแบบวิทยาศาสตร์และวิเคราะห์อย่างเป็นระบบได้
การที่พาเด็กไปศึกษาเรียนรู้ดูชีวิตจริง สถานที่จริงนั้นเด็กจะได้รับประสบการณ์ตรงกับสถานที่และสิ่งที่ไปศึกษาจริง แล้วจะทำให้เด็กยังได้รับประสบการณ์อย่างกว้างขว้าง เกิดความสนุกสนานตื่นเต้นอีกด้วย
การจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนนั้นมีหลายขั้นตอน ดังนั้นควรพิจารณาองค์ประกอบของกิจกรรมที่เหมาะสำหรับการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยในแต่ละช่วงวัย และในการจัดกิจกรรมนั้นจะต้องจัดให้หลากหลายครอบคลุมกับองค์ประกอบของกิจกรรม แต่ในทั้งนี้การจัดกิจกรรมให้กับเด็กก็จะต้องควรคำนึงถึงความสนใจ ความพร้อม และความสามรถของเด็กด้วย
*ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ระดับพื้นฐาน
*การจัดประสบการณ์แบบการศึกษานอกสถานที่
เป็นการจัดประสบการณ์การศึกษานอกห้องเรียน ทําให้เด็กได้ศึกษาจากสภาพจริงจากสภาพจริง สถานที จริง การออกไปสัมผัสพบสิ งเหล่านี 0 ทําให้เด็กสนุกสนาน อย่างไม่รู้จักเบื อหน่าย ได้รับความรู้และจดจําได้นาน
*คุณค่าของการจัดประสบการณ์แบบการศึกษานอกสถานที่
การศึกษานอกสถานที่ในระยะทางขนาดกลาง
การศึกษานอกสถานที่ในระยะทางไกล
กระบวนการทางวิทยาศาตร์สำหรับเด็กปฐมวัยนั้นประเด็นที่สำคัญต่อการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาตร์ให้เด็ก คือ การเปิดโอกาสให้เด็กใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 โดยการสัมผัส จับต้อง ดม ชม ได้ยินโดยในการสังเกต การสำรวจ การค้นคว้า การทดลอง หรือจะนำกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ด้วยก็ได้(การกำหนดปัญหา การตั้งสมมุติฐาน การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ และการสรุปผลประเมินผล) หรือจะการถามคำถามเกี่ยวกับประสบการณ์ที่เด็กได้รับด้วย เพราะจะทำให้เด็กมีพัฒนาการคิด รู้จักหาคำตอบแบบวิทยาศาสตร์และวิเคราะห์อย่างเป็นระบบได้
การที่พาเด็กไปศึกษาเรียนรู้ดูชีวิตจริง สถานที่จริงนั้นเด็กจะได้รับประสบการณ์ตรงกับสถานที่และสิ่งที่ไปศึกษาจริง แล้วจะทำให้เด็กยังได้รับประสบการณ์อย่างกว้างขว้าง เกิดความสนุกสนานตื่นเต้นอีกด้วย
การจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนนั้นมีหลายขั้นตอน ดังนั้นควรพิจารณาองค์ประกอบของกิจกรรมที่เหมาะสำหรับการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยในแต่ละช่วงวัย และในการจัดกิจกรรมนั้นจะต้องจัดให้หลากหลายครอบคลุมกับองค์ประกอบของกิจกรรม แต่ในทั้งนี้การจัดกิจกรรมให้กับเด็กก็จะต้องควรคำนึงถึงความสนใจ ความพร้อม และความสามรถของเด็กด้วย
*ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ระดับพื้นฐาน
- การสังเกต (Obervation)
- การวัด (Measurenent)
- การจําแนกประเภท (Classification)
- การหาความสัมพันธ์ระหวางสเปสกับสเปสและสเปสกบเวลา (Spacs / Spacs Reation and Space /Time Relation)
- การคํานวน(Using Number)
- การจัดทําและสื่อความหมายข้อมูล (Organizing Data and Communication)
- การลงความคิดเห็นจากข้อมูล(Infeaing)
- การพยากรณ์(Prediction)
- การตั้งสมมติฐาน (Formulating Hypothesis)
- การกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operation)
- การกาหนดและควบคุมตัวแปร (Identifying and Controlling Variables)
- การทดลอง(Experiment)
- การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป (Interperting Data and Making
*การจัดประสบการณ์แบบการศึกษานอกสถานที่
เป็นการจัดประสบการณ์การศึกษานอกห้องเรียน ทําให้เด็กได้ศึกษาจากสภาพจริงจากสภาพจริง สถานที จริง การออกไปสัมผัสพบสิ งเหล่านี 0 ทําให้เด็กสนุกสนาน อย่างไม่รู้จักเบื อหน่าย ได้รับความรู้และจดจําได้นาน
*คุณค่าของการจัดประสบการณ์แบบการศึกษานอกสถานที่
- ช่วยให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ตรง
- ช่วยให้บทเรียนมีความหมายยิ่งขึ้น
- ช่วยให้ฝึกฝนระเบียบวินัย การตรงต่อเวลา และมนุษยสัมพันธ์
- ช่วยส่งเสริมการทำงานร่วมกันทั้งก่อนและหลังการทำกิจกรรมทัศนศึกษา
- ช่วยให้ผู้เรียนได้ร่วมกิจกรรมการเรียนอย่างเพลิดเพลิน
- ช่วยให้การเรียนรู้เป็นไปในลักษณะบูรณาการ
- การจัดประสบการณ์แบบการศึกษานอกสถานที่
การศึกษานอกสถานที่ในระยะทางขนาดกลาง
การศึกษานอกสถานที่ในระยะทางไกล
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น