วันพุธที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2558

Diary No. 6 Tuesday, September 15, 2558

Diary No. 6
Science experiences management for early childhood
Instructor Jintana suksamran
Tuesday, September 15, 2558
Time 13.30 - 17.30 .


Story of subject (เนื้อหาที่สอน)


  • หลักการ/แนวคิดสู่การปฏิบัติพัฒนาการเด็ก
  • วิทยาศาสตร์

Knowledge (ความรู้ที่ได้รับ)

1.กีเซล (Gesell)


หลักการ

  • พัฒนาการของเด็กเป็นไปอย่างมีแบบแผนและ เป็นขั้นตอน เด็กควรพัฒนาไปตามธรรมชาติไม่ควร เร่งหรือบังคับ 
  • การเรียนรู้ของเด็กเกิดขึ้นจากการเคลื่อนไหวการใช้ภาษาการปรับตัวเข้ากับสังคมและบุคคลรอบข้าง
แนวคิดสู่การปฏิบัติพัฒนาการเด็ก
  • โครงสร้างของหลักสูตรยึดพัฒนาการเด็กคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์และประสบการณ์สําคัญ
  • ไม่เร่งสอนสิ่งที่ยากเกินพัฒนาการตามวัยของเด็ก 
  • จัดกิจกรรมให้เด็กมีโอกาสเคลื่อนไหวกิจกรรมเดี่ยว และกิจกรรมกลุ่ม 
  • จัดกิจกรรมให้เด็กได้ฟังได้พูด ท่องคําคล้องจอง ร้องเพลง ฟังนิทาน

2.ฟรอยด (Freud)


หลักการ

  • ประสบการณในวัยเด็กสงผลตอบุคลิกภาพของคนเรา เมื่อเติบโตเปนผูใหญหากเด็กไมไดรับการตอบสนอง อยางเพียงพอจะเกิดอาการชะงัก พฤติกรรมถดถอย คับของใจ สงผลตอพัฒนาการของเด็ก
แนวคิดสู่การปฏิบัติพัฒนาการเด็ก
  • จัดประสบการณใหเหมาะกับวัย สอดคลองกับ พัฒนาการตามวัยใหไดรับหรือประทับใจในสิ่งดีๆ ใหเด็กรูสึกประสบความสําเร็จ มีความมั่นใจ ซึ่งจะเปน รากฐานไปตลอดชีวิต 
  • ครูเปนแบบอยางที่ดี ทั้งการแสดงออก ทาทีวาจา เชน การพูดคําสุภาพ การนั่งการเดิน ความมีระเบียบวินัย


3.อีริคสัน (Erikson) 

หลักการ
  • ถาเด็กอยูในสิ่งแวดลอมที่เด็กพอใจ ประสบผลสําเร็จ เด็กจะมองโลกในแงดีมีความเชื่อมั่นและไววางใจผู้อื่น
  • ถาเด็กอยูในสิ่ งแวดลอมที่ไมดีไมพอใจจะมองโลก ในแงรายขาดความเชื่อมั่นในตนเองและไมวางใจผูอื่น 

แนวคิดสู่การปฏิบัติพัฒนาการเด็ก

  • จัดกิจกรรมใหเด็กมีโอกาสประสบผลสําเร็จโดยจัด กิจกรรมที่เหมาะสมกับวัยไมยากและมีใหเลือกตาม ความสามารถ หรือความสนใจ
  •  จัดบรรยากาศในหองเรียน ใหเด็กมีโอกาสสราง ปฏิสัมพันธที่ดีตอสภาพแวดลอม ครูและเพื่อน ๆ เชน จัดบรรยากาศใหอบอุน มีความสบายใจและเด็กไดทํากิจกรรมรวมกัน

4. เพียเจท (Piaget) 

หลักการ
  • พัฒนาการทางเชาวปญญาของเด็กเกิดจากการ ที่เด็ก มีปฏิสัมพันธกับสภาพแวดลอมรอบ ๆ ตัวเด็กมีการรับรูจากสิ่งแวดลอมใหมๆ ที่เกิดขึ้นตลอดเวลาและ มีการปรับขยายประสบการณเดิม ความคิดและความ เขาใจใหขยายมากขึ้น 
  •  พัฒนาการของเด็กปฐมวัย (0 – 6)
  1. ขั้นประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหววัย 0 - 2 ป เด็กเรียนรูทุกอยางทางประสาทสัมผัสทุกดาน
  2.  ขั้นความคิดกอนปฏิบัติการวัย 2 - 6 ปเริ่มเรียน ภาษาพูดและภาษาทาทางในการสื่อสารยึดตนเอง เปนศูนยกลางคิดหาเหตุผลไมไดจัดหมวดหมูได ตามเกณฑของตน 
แนวคิดสู่การปฏิบัติพัฒนาการเด็ก
  •  จัดกิจกรรมใหเด็กไดใชประสาทสัมผัสทั้ง 5 เชน กิจกรรมสํารวจ ทดลองกิจกรรมการประกอบอาหาร ทัศนศึกษา
  •  จัดใหเด็กฝึกฝนทักษะสังเกตจําแนกเปรียบเทียบ เชน การเลนเกมการศึกษาการเรียนรู้จากสื่อของจริงการ สํารวจทดลอง ทัศนศึกษา 
  • จัดใหเด็กไดเรียนรจากสิ่งที่อยูใกลตัวไปสูเรื่องไกลตัว เรียนรูจากหนวยตามความสนใจและเรียนรูจากสิ่งที่ เปนรูปธรรมกอน

5.ดิวอ ี้ (Dewey) 

หลักการ
  •  เด็กเรียนรูโดยการกระทํา 
  • การพัฒนาสติปญญาของเด็กจะตองฝกใหเด็กคิดแบบ วิทยาศาสตรและมีระบบ 

แนวคิดสู่การปฏิบัติพัฒนาการเด็ก
  • จัดกิจกรรมใหเด็กลงมือปฏิบัติเพ ื่อใหเกิดการเรียนรู เชน กิจกรรมการสํารวจการทดลองการทัศนศึกษา จากประสบการณจริงการประกอบอาหาร สื่อวัสดุ 
  • จัดใหเด็กมีระบบการเรียนรูที่ดีเรียนรูและคนหา คําตอบดวยตนเองครูเปนเพียงที่ปรึกษา เชน กิจกรรม ทดลองในมุมวิทยาศาสตรการสํารวจและทัศนศึกษา 

6.สกินเนอร (Skinner) 

หลักการ
  •  ถาเด็กไดรับคําชมเชยและประสบความสําเร็จในการ ทํากิจกรรม เด็กจะสนใจที่ จะทําตอไป 
  •  เด็กแตละคนมีความแตกตางกัน ไมมีใครเหมือนใคร

แนวคิดสู่การปฏิบัติพัฒนาการเด็ก
  •  ใหแรงเสริมทางบวกเชน ชมเชย ชื่นชม เมื่อเด็กทํา กิจกรรมประสบผลสําเร็จ ปรับพฤติกรรมเด็กดวยการ เสริมแรงทางบวกเสริมแรงดวยทาทางของครูจัดแสดง ผลงานของเด็กทุกคนบนปายนิเทศ
  • ไม่นำเด็กมาเปรียบเทียบแขงขันกันในการประเมิน ผลงานศิลปะของเด็กไมใหคะแนนหรือดาวแตติดตาม ผลงานเด็กแตละคนเพื่อสังเกตพัฒนาการและความ กาวหนา

7.เปสตาลอซี่
หลักการ
  • ความรักเป็นหลักสำคัญในการพัฒนาเด็ก 
  • เด็กไม่ควรถูกบังคับให้เรียนด้วยการท่องจำ
แนวคิดสู่การปฏิบัติพัฒนาการเด็ก
  • จัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมให้กับเด็ก

 8.เฟรอเบล (Froeble)
หลักการ
  • ควรสงเสริมพัฒนาการตามธรรมชาติของเด็กดวยการ กระตุนใหเกิดความคิดสรางสรรคอยางเสรี 
  • การเลนเปนการทํางานและการเรียนรูของเด็ก 

แนวคิดสู่การปฏิบัติพัฒนาการเด็ก
  • จัดกิจกรรมเรียนรผู านการเลนที่หลากหลายและเปน การเลนที่มีจุดมุงหมายใหเด็กเลือกเลนได้ตามความสนใจ
  •  จัดกิจกรรมที่เปดโอกาสใหเด็กคิดสรางสรรคและได พัฒนาทักษะดานตางๆ ตามความสามารถของแตละ บุคคล

9.เดวิด เอลคายน์ (David Eldind)

หลักการ
  •  การเรงสอนอานเขียนขณะที่เด็กยังไมพรอมจะเกิด ผลเสียตอเด็กทั้งในระยะสั้น และระยะยาว -ระยะสั้น คือเครียดเปนทุกขในการเรียน -ระยะยาวคือ สูญเสียบุคลิกภาพ เกิดเจตคติไมดีตอการเรียน
  •  เด็กควรมีโอกาสเลนและเลือกกิจกรรมการเลนดวย ตนเอง

แนวคิดสู่การปฏิบัติพัฒนาการเด็ก
  •  ไมสอนหนังสือเมื่อเด็กยังไมพรอม
  •  จัดบรรยากาศในหองเรียนใหเด็กมีโอกาสเลือกเลน และทํากิจกรรมตามความสามารถความตองการและ ความสนใจ 



วิทยาศาสตร์
*ความหมายของวิชาวิทยาศาสตร์ คือ การสืบค้นการทดลองเพื่อค้นหาความเป็นจริงซึ่งทำให้ได้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์

* แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
 1. การเปลี่ยนแปลง 
2. ความเเตกต่าง 
3. การปรับตัว
 4. พึงพาอาศัย 
5. สมดุล 

*การศึกษาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ 
1. ขั้นกำหนดปัญหา 
2. ขั้นตั้งสมมุติฐาน
3. ขั้นสอบสวน 
4. ขั้นสรุป 

*เจตคติวิทยาศาสตร์ 
1. ความอยากรุ้อยากเห็น
 2. ความเพียรพยายาม
 3. ความมีเหตุผล
 4. ความซื่อสัตย์
 5. ความใจกว้าง 
6. ความมีระเบียบรอบคอบ

*การเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ คือ 
  1. การเรียนรู้ปฎิบัติจริง
  2.  เรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 
  3. พัฒนาทักษะการสังเกตการสรุปความคิดรวบยอด 
  4. กิจกรรมโครงการ กิจวัตรประจำวัน (6 กิจกรรม )

*พัฒนาการเรียนรู้เด็กปฐมวัย  คือ การเรียนรู้อย่างมีความสุข 
  1. การคิดปฎิบัติจริง 
  2. การเรียนรูแบบองค์รวมที่ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน 
  • การคิดปฎิบัติจริง


  1. การเรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติจริง
  2. เรียนรู้โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า
  3. พัฒนาทักษะการสังเกต การเปรียบเทียบ การจำแนก การสรุปความคิดรวบยอด การแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์  
  4. กิจกรรมโครงการ กิจกรรมประจำวัน การเล่น กิจกรรมการทดลอง กิจกรรมการศึกษานอกสถานที่ กิจวัตรประจำวัน

  • การเรียนรูแบบองค์รวมที่ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน 


  1. กิจกรรมที่จัดสอดคล้องกับประสบการณ์ที่ได้รับ
  2. ครูผู้สอน หรือผู้ดูแลเด็กควรหลอมรวมหรือเชื่อมโยงความรู้ประสบการณ์
  3. ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้านทั้งทางร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
  4. ประสบการณ์ต่างๆสัมพันธ์กันในลักษณะบูรณาการ

สรุป พัฒนาเด็กครบทุกพัฒนาการ เน้นให้เด็กช่วยเหลือตนเองเเละอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
 กิจกรรมต้อมมีความสมดุลยึดเด็กเป็นสำคัญและต้องประสานสัมพันธ์กับครอบครัวเเละชุมชน

กิจกรรมนำเสนอบทความ




Skill (ทักษะที่ได้รับ )
- การสรุปองค์ความรู้ การสรุปองค์ความรู้ ทำให้เราเข้าใจเนื้อหาที่เรียนมากขึ้นและเข้าใจมากขึ้น
-การคิดวิเคราะห์ในการตอบคำถามก่อนเรียน-ระหว่างเรียน

Adoption ( การนำไปใช้ )

-ทราบถึงหลักการ/แนวคิดสู่การปฏิบัติพัฒนาการเด็ก   ความหมายของวิทยาศาสตร์เราก็จะสามารถจัดกิจกรรมและวิธีการเรียนรู้ให้เหมาะสมได้

classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน )

อุปกรณ์เทคโนโลยีพร้อม บรรยากาศเย็น

Self-Assessment ( ประเมินตนเอง )

ตั้งใจเรียน แต่งกายเรียบร้อย

friend-Assessment (ประเมินเพื่อน )

ตั้งใจฟังเวลาอาจารย์สอน และตั้งใจตอบคำถาม

Teacher-Assessment (ประเมินครู )

สอนโดยใช้เทคโนโลยีได้ดี กระตุ้นให้นักศึกษาตอบ โดยไม่กดดัน 
  

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น