วันศุกร์ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2558

Diary No. 15 Tuesday, November 24, 2558

Diary No. 15
Science experiences management for early childhood
Instructor Jintana suksamran
Tuesday, November 24, 2558
Time 13.30 - 17.30 .

Story of subject (เนื้อหาที่สอน)
  • เพื่อนๆนำเสนอผผลงาน
Knowledge (ความรู้ที่ได้รับ)

นำเสนอวิจัย
  • เลขที่ 15 เรื่องผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวืทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
  • เลขที่ 24 การศึกษาผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาตร์ของเด็กปฐมวัย
                   เด็กนักวิจัย (Children as a Researcher) หมายถึง นวัตกรรมการศึกษาที่ให้โอกาสเด็กมีบทบาทในการค้นคว้าหาข้อมูลด้วยวิธีการต่างๆ ซึ่งในกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย เด็กจะค้นคว้าข้อมูลจากการปฏิบัติการทดลอง การศึกษานอกสถานที่ การสำรวจ การประดิษฐ์ ฯลฯ เพื่อให้เด็กสามารถค้นหาคำตอบในสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ซึ่งเปรียบเสมือนกับเด็กเป็นนักวิจัยที่ต้องมีการศึกษาค้นคว้า ทดลอง เพื่อพิสูจน์ความจริงในสิ่งที่ต้องการเรียนรู้ จึงเป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ (Child-centered) เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ให้บทบาทเด็กได้มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ให้มากที่สุด เริ่มตั้งแต่การวางแผนเลือกเรื่องที่จะเรียนรู้ การให้โอกาสเด็กได้ลงมือปฏิบัติจริงในการเรียนรู้ ภายใต้การสนับสนุน ส่งเสริมของครู โดยเปลี่ยนบทบาทของครูที่เคยเป็นผู้บอกความ ชี้แนะเด็ก มาเป็นการช่วยเหลือ กระตุ้นการเรียน รู้ ให้เด็กสามารถค้นพบความรู้ และสร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง การจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย (Children as a Researcher Learning) เป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อความต้องการและความสนใจของเด็กปฐมวัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากการให้เด็กเป็นผู้ริเริ่มเลือกหัวเรื่องในการเรียนรู้ เด็กค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง และสามารถประเมินการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง ภายใต้การส่งเสริมการเรียนรู้จากครู ผู้ปกครองและบุคคลฝ่ายต่างๆที่มีส่วนเกี่ยวข้อง 



นำเสนอโทรทัศน์ครู
  • เลขที่ 25 สอนปฐมวัยด้วยธรรมชาติผสานวิถีพุทธ ตอนที่ 4

            การนำหลักวิถีธรรมชาติประสานวิถีพุทธนำลงสู่ห้องเรียนของคุณครูชลธิชา ผ่านนวัตกรรมการสอนที่ชื่อว่า "มาทาลโปรแกรม" ซึ่งเป็นนวัตกรรมการสอนวิทยาศาสตร์แบบธรรมชาติ เด็ก ๆ จะได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ผ่านกิจกรรมการสร้างชุมชนในฝัน กิจกรรมนี้เด็กจะได้ทั้งทักษะการสังเกต และการเชื่อมโยงความรู้กับสิ่งที่อยู่รอบตัว จนสามารถสังเคราะห์ความรู้สร้างสรรค์ออกมาเป็นชิ้นงานของตนเองได้ในที่สุด



Skill (ทักษะที่ได้รับ )
การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

Adoption ( การนำไปใช้ )
นำความรู้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้เด็กมีความรู้ คุณลักษณะทางวิทยาศาสตร์

classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน )
บรรยากาศเงียบสงบ เย็นสบาย

Self-Assessment ( ประเมินตนเอง )

ตั้งใจเรียนแต่งตัวเรียบร้อย

friend-Assessment (ประเมินเพื่อน )

ไม่เสียงดัง แต่งตัวถูกระเบียบ

Teacher-Assessment (ประเมินครู )
มีข้อแนะนำในการเรียนดี ใช้น้ำเสียงในการสอนได้เหมาะสม ยกตัวอย่างประกอบการสอนได้เข้าใจ